รายวิชาศึกษาทั่วไป

100-103 หลักตรรกศาสตร์และทักษะการคิดเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต

รายละเอียดลักษณะของรายวิชา แบบ มคอ.3 : Download

(General Education – Logic)

สัปดาห์ที่ หัวข้อ ศึกษาทั่วไป หมายเหตุ
Slide เอกสาร แบบทดสอบ
1  การแนะนำวิธีการเรียน / กฎระเบียบปฏิบัติร่วมกัน– ทำไมต้องเรียนเรื่องการคิด
– ความเชื่อ
– อิทธิพลที่มีต่อความคิด
– การกลัวและการขจัดความกลัว
2  สมอง กับการคิด– ส่วนประกอบของสมอง
– หน้าที่ของสมอง
– การพัฒนาสมองและความคิด
3  เครื่องมือช่วยคิด– การระดมสมอง
– แผนภาพ Cause & Effect Diagram
4  เครื่องมือช่วยคิด– Mind map
– โปรแกรม Mindmaper
5  ตรรกศาสตร์และการให้เหตุผล– ความหมายและแนวคิดเชิงตรรกศาสตร์
– การอ้างเหตุผลแบบนิรนัยและอุปนัย
– ข้อบกพร่องในการอ้างเหตุผล
6  ตรรกศาสตร์และการให้เหตุผล– รูปแบบการให้เหตุผลที่สมเหตุสมผล
(1) Modus Ponens (2) Modus Tollens (3) Hypothetical Syllogism
7  ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับความคิด– ความหมายการคิด
– ความสำคัญของการคิดที่มีต่อมนุษย์
– องค์ประกอบของการคิด
– ประเภทของการคิด
8  สอบกลางภาค
9  การคิดวิเคราะห์การคิดสังเคราะห์– ความหมายการวิเคราะห์และสังเคราะห์
– กระบวนการคิดเชิงวิเคราะห์และสังเคราะห์
– อุปนิสัยของนักคิดเชิงวิเคราะห์และสังเคราะห์
10  การคิดเชิงวิทยาศาสตร์การคิดอย่างมีวิจารณญาณ– การคิดเชิงวิทยาศาสตร์
– กำเนิดการคิดทางวิทยาศาสตร์
– กระบวนทัศน์แบบกลไก
11  การคิดอย่างมีวิจารณญาณ– ความหมายการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
– ประโยชน์ของการใช้การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
– ทักษะพื้นฐานของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
– มาตรฐานการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
12  ความคิดสร้างสรรค์– กระบวนการคิดที่ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์
– เครื่องมือที่ส่งเสริมการคิดสร้างสรรค์
13  ความคิดเชิงมโนทัศน์ ความคิดบูรณาการ– ความหมายและลักษณะของการคิดเชิงมโนทัศน์
– วิธีการสร้างมโนทัศน์
– แผนภูมิรูปแบบการคิดเชิงมโนทัศน์
– ความหมายและลักษณะการคิดเชิงบูรณาการ
14  การคิดวิถีพุทธ– ลักษณะและวิธีการคิดในพระพุทธศาสนา
– เปรียบเทียบลักษณะและวิธีการคิดทางพุทธศาสนากับกระบวนการคิดอื่น
– การปฏิบัติและทักษะการคิดในเชิงพระพุทธศาสนา
– ประโยชน์ของการคิดเชิงพระพุทธศาสนา
15  สรุปทบทวน
16