รายวิชาศึกษาทั่วไป

100-101 หลักเศรษฐศาสตร์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รายละเอียดลักษณะของรายวิชา แบบ มคอ.3 : Download

(General Education – Principles of Economics  and Philosophy of Sufficiency Economy)

สัปดาห์ที่ หัวข้อ ศึกษาทั่วไป หมายเหตุ
Slide เอกสาร แบบทดสอบ
1  เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
-แนวคิด
-วัตถุประสงค์
-เนื้อเรื่อง
-กิจกรรมระหว่างเรียน
-สื่อการสอน
-ประเมินผล
-เอกสารอ้างอิง
2  อุปสงค์ อุปทาน และการกำหนดขึ้นเป็นดุลยภาพตลาด
-ความหมายของอุปสงค์ (Demand)
-กฎของอุปสงค์
-ชนิดของอุปสงค์
-ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ (Demand Determinants)
-ความหมายของอุปทาน(Supply)
-กฎแห่งอุปทาน
-ปัจจัยกำหนดอุปทาน (Supply Determinants)
-ดุลยภาพตลาด (Market Equilibrium)
-การกำหนดขึ้นเป็นภาวะดุลยภาพ (Determination of equilibrium)
3  การผลิต ต้นทุนและรายรับจากการผลิต 
-การผลิต
-การผลิตระยะสั้น (Production in the short run)
-กฎการลดน้อยถอยลงของผลผลิตส่วนเพิ่ม (The Law of Diminishing Marginal Product)
-ต้นทุนการผลิต
-การวิเคราะห์ต้นทุนระยะสั้น
-รายรับการผลิต
-กำไรจากการผลิต
โครงสร้างตลาดและการกำหนดราคา
-ตลาดแข่งขันสมบูรณ์
-ตลาดผูกขาด
-ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
-ตลาดผู้ขายน้อยราย
4  รายได้ประชาชาติ
-ความหมายของรายได้ประชาชาติ
-ข้อสังเกตของ GDP และGNP
-ความสัมพันธ์ระหว่าง GDP และ GNP
-องค์ประกอบของ GDP
-ความสำคัญของ GDP
5  นโยบายการเงิน
-ความหมายของเงิน
-หน้าที่ ลักษณะ และชนิดของเงิน
-อุปทานของเงิน นิยามปริมาณเงิน
-ฐานเงินและตัวคูณเงิน (Monetary Base and Money Multiplier)
-อุปสงค์ของเงิน
-ปัจจัยกำหนดอุปสงค์ของเงิน
-ดุลยภาพของตลาดเงิน
-หน้าที่ของธนาคารกลาง
-เครื่องมือของนโยบายการเงิน
-นโยบายการเงินของธนาคารแห่งประเทศไทย
-ประสิทธิภาพของนโยบายการเงิน
6  นโยบายการคลัง
-ความหมาย
-บทบาทหน้าที่ของนโยบายการคลัง
-ประเภทของนโยบายการคลัง
-เครื่องมือของนโยบายการคลัง
7  การวางแผนการเงินส่วนบุคคลในทศวรรษที่ 21
-การวางแผนการเงินส่วนบุคคล (Personal Financial Planning)
-เป้าหมายทางการเงิน (Financial Goals)
-แผนการเงินเหมาะกับใครบ้าง
8  สอบกลางภาค
9  การออม
-การออมคืออะไร
-ความสำคัญของเงินออม
-การออมให้คุณประโยชน์แก่เราอย่างไรบ้าง
-ปัจจัยสำคัญในการออม
-เป้าหมายในการออม
10  การทำบัญชีครัวเรือน
-กองทุนรวม
11  หลักเศรษฐศาสตร์และปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
-ประวัติความเป็นมา
-ความหมาย
-หลักพิจารณาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
-การขับเคลื่อนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในประเทศไทย
-ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในบริบทต่างประเทศ
-การเชิดชู
 
12  เศรษฐกิจพอเพียงกับการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน
-ลักษณะของการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง
-การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน
-การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงในระดับต่าง  ๆ
-การน้อมนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน
-ผลของการดำเนินชีวิตแบบเศรษฐกิจพอเพียง
13  การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงกับการประกอบอาชีพต่างๆ
-เศรษฐกิจพอเพียงกับอาชีพธุรกิจ
-เศรษฐกิจพอเพียงกับการเกษตร
14  การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงกับการประกอบอาชีพต่าง ๆ (ต่อ)
-เศรษฐกิจพอเพียงกับการศึกษา
-เศรษฐกิจพอเพียงกับภาครัฐบาล
-ภาคสื่อสารมวลชน
15  การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงกับชีวิตประจำวัน
16  นักศึกษานำเสนอโครงงาน
ทบทวนการเรียน เพื่อเตรียมตัวสอบ